สถิติ
เปิดเมื่อ12/09/2012
อัพเดท18/09/2012
ผู้เข้าชม32237
แสดงหน้า35348
บทความ
บทความทั่วไป
ทำไมน้ำทะเลจึงเค็ม
ทำไมแมลงจึงเดินบนน้ำได้
ทำไมน้ำจึงไม่หกออกจากถังขณะที่เราเหวี่ยงขึ้น
ทำไมสิ่งของทุกชนิดจึงตกลงสู่พื้น
ทำไมเหล็กจึงกลายเป็นสนิม
ทำไมน้ำกับน้ำมันจึงเข้ากันไม่ได้
ทำไมเกล็ดของหิมะจึงแตกต่างกัน
ทำไมภูเขาไฟจึงระเบิด
ทำไม ชาวเอสกิโมจึงสร้างบ้านด้วยน้ำแข็งหรือหิมะ
ทำไม น้ำเดือดจึงมีฟองปุด
นักวิทยาศาสตร์
อัลเบิร์ต ไอสไตน์ (Albert Einstein)
เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton)
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)
มารี กูรี (Marie Curie)
ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison)
นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla)
กูกลิเอลโม มาร์โคนี (Guglielmo Marconi)
อริสโตเติล (Aristotle)
ปฎิทิน
May 2025
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
    
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31


นักวิทยาศาสตร์เตือน! น้ำแข็งอาร์กติกละลายอย่างรวดเร็วทำลายสถิติ

อ่าน 1214 | ตอบ 0

จากข่าวที่เราเฝ้าติดตามกันมาอย่างต่อเนื่องถึงภาวะโลกร้อนที่เริ่มจะหนักขึ้นเรื่อยๆ จนทำให้เกิดกระแสน้ำแข็งละลายจนน้ำจะท่วมโลก ซึ่งก็มีข้อเท็จจริงออกมาพิสูจน์อย่างมากมายอย่างที่เราเห็นจากสื่อต่างๆนั่นเอง และเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2555 ที่ผ่านมา ได้มีนักวิทยาศาสตร์ออกมาเสนอถึงสถานการณ์ของธารน้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติกละลายอย่างรวดเร็วและลดลงจากสถิติเดิม ถือได้ว่าทำลายสถิติอย่างสิ้นเชิง

สำนักงานบริหารอวกาศแห่งชาติหรือองค์การนาซา (NASA) และศูนย์ข้อมูลน้ำแข็งและหิมะแห่งชาติ National Snow & Ice Data Center (NSIDC) ของมหาวิทยาลัยโคโลราโด สหรัฐอเมริกา ได้ร่วมออกแถลงการณ์เมื่อวันจันทร์ ที่ 27 สิงหาคม 2555 ถึงสถานการณ์อันน่าตกใจว่าน้ำแข็งที่ปกคลุมมหาสมุทรอาร์กติกนั้นลดลงไปอย่างรวดเร็วมาอยู่ที่ 4.1 ล้านตารางกิโลเมตร น้อยกว่าสถิติครั้งก่อนถึง 7 หมื่นตารางกิโลเมตร ถือว่าทุบทำลายสถิติที่บันทึกไว้เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2550 อย่างน่าใจหายและการละลายของน้ำแข็งอาจไม่หยุดอยู่แค่นี้อาจจะทำลายสถิติอย่างไม่หยุดยั้ง และยังถือเป็นสัญญาณชัดเจนที่สุดของภาวะโลกร้อนในระยะยาวที่โลกและสิ่งมีชีวิตบนโลกนี้ต้องเผชิญหน้าต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์ อพวช. รายงาน

ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :